D2R วิศวกรรมโยธาและวงการก่อสร้าง
วิศวกรรมโยธาและวงการก่อสร้าง
ค้นหาบล็อกนี้
วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2563
วันอังคารที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
งานลาดยางแอสฟัลต์ไพรม์โค้ต (Prime Coat) บนพื้นทางหินคลุก
งานลาดยางแอสฟัลต์ไพรม์โค้ต (Prime Coat) บนพื้นทางหินคลุก
ค่ายาง CSS-1 (บาท/ตัน) จาก http://www.price.moc.go.th/price/struct/index_new.asp
หาค่าขนส่ง สมมุติคิดที่ระยะทาง 30 กิโลเมตร (รถ10 ล้อ+ลากพ่วง) (น้ำมันดีเซล 27.00-27.99 บาท/ลิตร) จาก https://drive.google.com/file/d/1yQDFwCxhvCGcShHcNSmYydLjyR_a6Mu6/view
หาค่าดำเนินการ+ค่าเสื่อมราคา (งานราดยางไพรม์โค้ต) จาก https://drive.google.com/file/d/1aTbVinUEgaFdBFSEXgQdIzc3BQ61xx8l/view
ค่าดำเนินการ+ค่าเสื่อมราคา (งานราดยางไพรม์โค้ต) ฝนชุก 7.05 บาท/ ตร.ม. (น้ำมันดีเซล 27.00-27.99 บาท/ลิตร)
รวมค่ายาง CSS-1= ค่ายาง CSS-1 (บาท/ตัน) + ค่าขนส่ง (บาท/ตัน) + ค่าขนขึ้นลงยาง MC (25 บาท/ตัน)
รวมค่ายาง CSS-1=21,309.33+ 44.96 + 25.00 (บาท/ตัน)
รวมค่ายาง CSS-1=21,379.29 (บาท/ตัน)
รวมค่ายาง CSS-1 (บาท/ตัน) = 1.00x21,379.29/1,000 = 21.37 บาท/ตร.ม. (1.00 คืออัตราการลาดบนพื้นทางหินคลุกต่อ 1 ตร.ม.)
รวมค่าใช้จ่ายรวม = รวมค่ายาง CSS-1 (บาท/ตร.ม.)+ค่าดำเนินการ+ค่าเสื่อมราคา (บาท/ตร.ม.)
รวมค่าใช้จ่ายรวม = 21.37+7.05 =28.42 บาท/ตร.ม.
ค่างานต้นทุน (ปัดเศษ) = 28.40 บาท/ตร.ม.
ค่ายาง CSS-1 (บาท/ตัน) จาก http://www.price.moc.go.th/price/struct/index_new.asp
หาค่าขนส่ง สมมุติคิดที่ระยะทาง 30 กิโลเมตร (รถ10 ล้อ+ลากพ่วง) (น้ำมันดีเซล 27.00-27.99 บาท/ลิตร) จาก https://drive.google.com/file/d/1yQDFwCxhvCGcShHcNSmYydLjyR_a6Mu6/view
หาค่าดำเนินการ+ค่าเสื่อมราคา (งานราดยางไพรม์โค้ต) จาก https://drive.google.com/file/d/1aTbVinUEgaFdBFSEXgQdIzc3BQ61xx8l/view
ค่าดำเนินการ+ค่าเสื่อมราคา (งานราดยางไพรม์โค้ต) ฝนชุก 7.05 บาท/ ตร.ม. (น้ำมันดีเซล 27.00-27.99 บาท/ลิตร)
รวมค่ายาง CSS-1= ค่ายาง CSS-1 (บาท/ตัน) + ค่าขนส่ง (บาท/ตัน) + ค่าขนขึ้นลงยาง MC (25 บาท/ตัน)
รวมค่ายาง CSS-1=21,309.33+ 44.96 + 25.00 (บาท/ตัน)
รวมค่ายาง CSS-1=21,379.29 (บาท/ตัน)
รวมค่ายาง CSS-1 (บาท/ตัน) = 1.00x21,379.29/1,000 = 21.37 บาท/ตร.ม. (1.00 คืออัตราการลาดบนพื้นทางหินคลุกต่อ 1 ตร.ม.)
รวมค่าใช้จ่ายรวม = รวมค่ายาง CSS-1 (บาท/ตร.ม.)+ค่าดำเนินการ+ค่าเสื่อมราคา (บาท/ตร.ม.)
รวมค่าใช้จ่ายรวม = 21.37+7.05 =28.42 บาท/ตร.ม.
ค่างานต้นทุน (ปัดเศษ) = 28.40 บาท/ตร.ม.
วันอาทิตย์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2560
อาคารที่ต้องตรวจสอบรายการคำนวณ
กฎกระทรวงกำหนดชนิดหรือประเภทของอาคาร หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจสอบงานออกแบบและคำนวณส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคาร พ.ศ. ๒๕๕๐
ข้อ ๑ การก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลื่อนย้ายอาคารชนิดหรือประเภทดังต่อไปนี้ ให้ผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้แจ้งตามมาตรา ๓๙ ทวิ จัดให้มีการตรวจสอบงานออกแบบและคำนวณส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคาร
(๑) โรงมหรสพ
(๒) อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ
(๓) อาคารที่มีพื้นที่ส่วนหนึ่งส่วนใดเป็นที่ชุมนุมคนตั้งแต่หนึ่งพันตารางเมตรขึ้นไปและมีความยาวของคานหรือโครงหลังคาช่วงหนึ่งช่วงใดเกิน 20 เมตร
(๔) อาคารที่มีความยาวของคานช่วงหนึ่งตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไปและรับน้ำหนักเสาฝาก ซึ่งเสาดังกล่าวรับน้ำหนักชั้นถัดไปมากกว่าหนึ่งชั้น
(๕) อาคารที่มีพื้นของชั้นใต้ดินต่ำกว่าระดับพื้นดินที่ก่อสร้างเกิน 9 เมตร
(๖) อาคารประเภทที่ใช้พื้นไร้คานและมีความยาวระหว่างเสาช่วงหนึ่งช่วงใดตั้งแต่ 8 เมตรขึ้นไป
(๗) ป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีความสูงจากระดับฐานตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไปหรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตารางเมตรขึ้นไป
การตรวจสอบงานออกแบบและคำนวณส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคารให้กระทำโดยผู้ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา ระดับวุฒิวิศวกรตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร
----------------------------------------------------------------------------------
กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2550 ออกตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ข้อ(๗) เห็นว่าป้ายที่มีความสูงจากระดับฐานตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไปหรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตารางเมตรขึ้นไป จำเป็นต้องมีวุฒิวิศวกรตรวจสอบรายการคำนวณ
แต่กฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมฯ พ.ศ. 2550 ที่ออกตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 เห็นว่าป้ายที่มีความสูงจากระดับฐานตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไปหรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตารางเมตรขึ้นไป จึงจะเข้าข่ายงานวิศวกรรมควบคุม
ข้อ ๑ การก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลื่อนย้ายอาคารชนิดหรือประเภทดังต่อไปนี้ ให้ผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้แจ้งตามมาตรา ๓๙ ทวิ จัดให้มีการตรวจสอบงานออกแบบและคำนวณส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคาร
(๑) โรงมหรสพ
(๒) อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ
(๓) อาคารที่มีพื้นที่ส่วนหนึ่งส่วนใดเป็นที่ชุมนุมคนตั้งแต่หนึ่งพันตารางเมตรขึ้นไปและมีความยาวของคานหรือโครงหลังคาช่วงหนึ่งช่วงใดเกิน 20 เมตร
(๔) อาคารที่มีความยาวของคานช่วงหนึ่งตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไปและรับน้ำหนักเสาฝาก ซึ่งเสาดังกล่าวรับน้ำหนักชั้นถัดไปมากกว่าหนึ่งชั้น
(๕) อาคารที่มีพื้นของชั้นใต้ดินต่ำกว่าระดับพื้นดินที่ก่อสร้างเกิน 9 เมตร
(๖) อาคารประเภทที่ใช้พื้นไร้คานและมีความยาวระหว่างเสาช่วงหนึ่งช่วงใดตั้งแต่ 8 เมตรขึ้นไป
(๗) ป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีความสูงจากระดับฐานตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไปหรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตารางเมตรขึ้นไป
การตรวจสอบงานออกแบบและคำนวณส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคารให้กระทำโดยผู้ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา ระดับวุฒิวิศวกรตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร
----------------------------------------------------------------------------------
กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2550 ออกตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ข้อ(๗) เห็นว่าป้ายที่มีความสูงจากระดับฐานตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไปหรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตารางเมตรขึ้นไป จำเป็นต้องมีวุฒิวิศวกรตรวจสอบรายการคำนวณ
แต่กฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมฯ พ.ศ. 2550 ที่ออกตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 เห็นว่าป้ายที่มีความสูงจากระดับฐานตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไปหรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตารางเมตรขึ้นไป จึงจะเข้าข่ายงานวิศวกรรมควบคุม
นายดำรงค์ฤทธิ์ พรหมณีวัฒน์
วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ว่าด้วยเรื่องการออกแบบป้าย
กฎกระทรวงกําหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๐
ข้อ ๔ ประเภทและขนาดของงานวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา มีดังต่อไปนี้
(๑๙) ป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีพื้นที่ตั้งแต่ ๕๐ ตารางเมตรขึ้นไปและมี ความสูงจากพื้นดินตั้งแต่ ๑๕ เมตรขึ้นไป หรือป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีพื้นที่ตั้งแต่ ๒๕ ตารางเมตรขึ้นไปที่ติดตั้งอยู่บนหลังคา ดาดฟ้า หรือกันสาดหรือที่ติดกับส่วนใดส่วนหนึ่ง ของอาคาร
ข้อบังคับสภาวิศวกร ว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม แต่ละระดับ สาขาวิศวกรรมโยธา พ.ศ. ๒๕๕๑
ข้อ ๖ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ระดับภาคีวิศวกร
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ได้ เฉพาะงาน ประเภท และขนาดดังนี้
(๑) งานออกแบบและคํานวณ (ไม่ได้กำหนดให้ภาคีวิศวกรออกแบบป้าย)
กฎกระทรวง กําหนดชนิดหรือประเภทของอาคาร หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจสอบ งานออกแบบและคํานวณส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคาร พ.ศ. ๒๕๕๐
ข้อ ๑ การก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลื่อนย้ายอาคารชนิดหรือประเภทดังต่อไปนี้ ให้ ผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้แจ้งตามมาตรา ๓๙ ทวิ จัดให้ มีการตรวจสอบงานออกแบบและคํานวณ ส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคาร
(๗) ป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีความสูงจากระดับฐานตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่ตั้งแต่ห้าสิบตารางเมตรขึ้นไป
สรุปภาคีวิศวกรโยธาและตาสีตาสา
- สามารถออกแบบป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีพื้นที่ไม่เกิน ๕๐ ตารางเมตรและมีความสูงจากพื้นไม่เกิน ๑๕ เมตร หรือป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีพื้นที่ไม่เกิน ๒๕ ตารางเมตรที่ติดตั้งอยู่บนหลังคา ดาดฟ้า หรือกันสาดหรือที่ติดกับส่วนใดส่วนหนึ่ง ของอาคาร
- ถ้าออกแบบป้ายสูงจากพื้นตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไป ต้องมีวุฒิวิศวกรโยธาตรวจสอบรายการคำนวณแนบมาด้วย
สรุปสามัญวิศวกรโยธาและวุฒิวิศวกรโยธา
- สามารถออกแบบป้ายได้ทุกขนาด
- ถ้าออกแบบป้ายสูงจากพื้นตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไปหรือมีพื้นที่ตั้งแต่ห้าสิบตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีวุฒิวิศวกรโยธาตรวจสอบรายการคำนวณแนบมาด้วย
ข้อ ๔ ประเภทและขนาดของงานวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา มีดังต่อไปนี้
(๑๙) ป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีพื้นที่ตั้งแต่ ๕๐ ตารางเมตรขึ้นไปและมี ความสูงจากพื้นดินตั้งแต่ ๑๕ เมตรขึ้นไป หรือป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีพื้นที่ตั้งแต่ ๒๕ ตารางเมตรขึ้นไปที่ติดตั้งอยู่บนหลังคา ดาดฟ้า หรือกันสาดหรือที่ติดกับส่วนใดส่วนหนึ่ง ของอาคาร
ข้อบังคับสภาวิศวกร ว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม แต่ละระดับ สาขาวิศวกรรมโยธา พ.ศ. ๒๕๕๑
ข้อ ๖ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ระดับภาคีวิศวกร
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ได้ เฉพาะงาน ประเภท และขนาดดังนี้
(๑) งานออกแบบและคํานวณ (ไม่ได้กำหนดให้ภาคีวิศวกรออกแบบป้าย)
กฎกระทรวง กําหนดชนิดหรือประเภทของอาคาร หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจสอบ งานออกแบบและคํานวณส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคาร พ.ศ. ๒๕๕๐
ข้อ ๑ การก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลื่อนย้ายอาคารชนิดหรือประเภทดังต่อไปนี้ ให้ ผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้แจ้งตามมาตรา ๓๙ ทวิ จัดให้ มีการตรวจสอบงานออกแบบและคํานวณ ส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคาร
(๗) ป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีความสูงจากระดับฐานตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่ตั้งแต่ห้าสิบตารางเมตรขึ้นไป
สรุปภาคีวิศวกรโยธาและตาสีตาสา
- สามารถออกแบบป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีพื้นที่ไม่เกิน ๕๐ ตารางเมตรและมีความสูงจากพื้นไม่เกิน ๑๕ เมตร หรือป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรือตั้งป้ายที่มีพื้นที่ไม่เกิน ๒๕ ตารางเมตรที่ติดตั้งอยู่บนหลังคา ดาดฟ้า หรือกันสาดหรือที่ติดกับส่วนใดส่วนหนึ่ง ของอาคาร
- ถ้าออกแบบป้ายสูงจากพื้นตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไป ต้องมีวุฒิวิศวกรโยธาตรวจสอบรายการคำนวณแนบมาด้วย
สรุปสามัญวิศวกรโยธาและวุฒิวิศวกรโยธา
- สามารถออกแบบป้ายได้ทุกขนาด
- ถ้าออกแบบป้ายสูงจากพื้นตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไปหรือมีพื้นที่ตั้งแต่ห้าสิบตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีวุฒิวิศวกรโยธาตรวจสอบรายการคำนวณแนบมาด้วย
นายดำรงค์ฤทธิ์ พรหมณีวัฒน์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
-
กฎกระทรวงกําหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๔ ประเภทและขนาดของงานวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา มีดังต่...
-
กฎกระทรวงกำหนดชนิดหรือประเภทของอาคาร หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจสอบ งานออกแบบและคำนวณส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคาร พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ...